Category omotenashi

จิตวิญญาณการบริการแบบญี่ปุ่น

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 4

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 4 - Communications Gap
Communications Gap เกิดจากการที่ลูกค้าได้รับข้อมูลจากการสื่อสารทางการตลาดขององค์กรซึ่งไม่ตรงกับการบริการที่ได้รับเมื่อมาใช้บริการที่องค์กร ข้อมูลที่ลูกค้าได้รับจากกิจกรรมสื่อสารการตลาดขององค์กรผ่านสื่อต่าง ๆ นั้น เปรียบเสมือน “คำสัญญา (promise)” ที่องค์กรได้ให้ไว้กับลูกค้า

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 3

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 3 - Standard Delivery Gap
ช่องว่าง หรือ Gap ที่ 3 ที่ผู้บริหารองค์กรต้องพิจารณาก็คือ "ช่องว่างแห่งการส่งมอบ" หรือ "Service Delivery Gap" คือการที่องค์กรไม่สามารถส่งมอบการบริการให้แก่ลูกค้าได้ตรงตามที่ออกแบบและมาตรฐานที่กำหนดไว้ ซึ่งเกิดขึ้นได้จากสาเหตุหลัก ๆ  5 ประการด้วยกัน

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 2

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 2 - STANDARD Gap
เมื่อองค์กรสามารถเติมเต็มช่องว่างที่ 1 คือสามารถเข้าใจปัญหาหรือความไม่สะดวก, ความจำเป็น (needs),  ความต้องการ (wants), และความคาดหวัง (expectations) ของลูกค้ากลุ่มเป้าหมายของตนได้อย่างท่องแท้แล้ว ช่องว่างต่อไปที่องค์กรจำเป็นต้องพิจารณาก็คือ “ช่องว่างแห่งมาตรฐาน” คือ “Standard Gap”

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 1

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY | GAP 1
Knowledge Gap หรือ Understanding Gap เป็นช่องว่างระหว่าง “สิ่งที่ลูกค้าคาดหวัง” กับ “ความเข้าใจขององค์กรต่อความคาดหวังของลูกค้า” หรือกล่าวง่าย ๆ ก็คือ องค์กรอาจจะยังไม่มีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าลูกค้าของตนเองมีคุณลักษณะอย่างไร ลูกค้ามีประเด็นปัญหาหรือความไม่สะดวกอะไรบ้าง

GAP MODEL OF SERVICE QUALITY

Gap Model of Service Quality กับการพัฒนาบริการให้เป็นเลิศ
Gap Model of Service Quality ได้รับการพัฒนาขึ้นจากงานวิจัยในปี ค.ศ. 1985 ของ Texas University ร่วมกับ North Carolina University ซึ่งประกอบไปด้วยช่องว่าง (Gap) 5 ประการที่ผู้บริหารจัดการจะต้องเติมเต็มเพื่อให้การบริการที่องค์กรส่งมอบให้ลูกค้านั้นสามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย

OMOTENASHI | EP7

OMOTENASHI EP 7
ที่จริงแล้ว การนำปรัชญาด้านการบริการในลักษณะที่คล้ายคลึงกันกับ OMOTENASHI มาใช้ในองค์กรในประเทศไทยนั้นมิน่าจะเป็นเรื่องใหม่แต่อย่างใด เนื่องจากในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา องค์กรต่าง ๆ ในประเทศไทยก็ได้มีการพยายามนำศาสตร์และศิลป์หลายด้านหลายแขนงที่ได้รับความนิยมเข้ามาใช้

OMOTENASHI | EP6

OMOTENASHI EP 6 OMOTENASHI 2 ระดับในองค์กร
OMOTENASHI ที่เกิดขึ้นในองค์กรนั้น สามารถจำแนกได้เป็น 2 ระดับด้วยกันคือ ระดับองค์กร (Organizational Level) ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่ผู้บริหารได้วิเคราะห์ (คำนึงถึง) ปัญหา ความยากลำบากหรือความไม่สะดวกของลูกค้า และ OMOTENASHI ระดับบุคคล/บุคลากร (Personal/Personnel Level)

OMOTENASHI | EP 5

OMOTENASHI EP 5 ความสุภาพอ่อนน้อมและการให้เกียรติลูกค้า
ประเทศญี่ปุ่นมีโครงสร้างทางสังคมแบบศักดินาที่มีหลายชนชั้นมาตั้งแต่อดีตและก็ยังสืบทอดมาจนปัจจุบันโดยมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ญี่ปุ่นจึงมีวัฒนธรรมที่จึงต้องให้เกียรติผู้ที่มีสถานภาพสูงกว่า ชาวญี่ปุ่นทุกคนถูกปลูกฝังให้ตระหนักถึงสถานภาพของตนเองและผู้อื่นอยู่เสมอ

OMOTENASHI | EP 4

OMOTENASHI EP 4 การคำนึงถึงความสะดวกของลูกค้า
การคำนึงความสะดวกของลูกค้านั้น มาจากค่านิยมหลักของ OMOTENASHI คือ  “omoiyari (思いやり)” หรือ “การคำนึงถึงผู้อื่น (Thinking of others)” ซึ่งค่านิยมนี้ได้ซึมซาบเข้าไปในปรัชญาการทำงานด้านอื่น ๆ ของชาวญี่ปุ่น เช่น Kodawari (こだわり) และ komakai (こまかい)

OMOTENASHI | EP 3

OMOTENASHI EP 3 ความใส่ใจในสิ่งที่ทำ
ภาษาญี่ปุ่นมีสำนวนยอดนิยมที่บ่งบอกค่านิยมในการทำงานหนักหรือการทำงานอย่างมุ่งมั่นตั้งใจ คือ “ganbaru (頑張る)” ซึ่งเป็นสำนวนที่ใช้กันในชีวิตประจำวันและใช้กันอยู่ในทุกหนแห่งไม่ว่าจะเป็นในบ้าน ในสถาบันการศึกษา ในที่ทำงาน ในสนามกีฬา และใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

OMOTENASHI | EP 2

OMOTENASHI EP 2 ความใส่ใจห่วงใยผู้อื่น
ที่จริงแล้วก็มีแนวคิดและทฤษฎีอื่น ๆ อีกมากมายเกี่ยวกับการให้บริการของประเทศตะวันตกหลายประการที่คล้ายคลึงกับ omotenashi ซึ่งในประเทศไทยก็มีผู้นำแนวคิดและทฤษฎีเหล่านั้นมาจัดเป็นหลักสูตรฝึกอบรมให้กับพนักงานบริการในองค์กรมาช้านานแล้ว

OMOTENASHI | EP 1

OMOTENASHI EP 1 การบริการด้วยใจอย่างแท้จริง
ปรัชญาการบริการของญี่ปุ่นที่เรียกว่า OMOTENASHI (おもてなし | โอโมเตะนาชิ) นั้นเป็นบริการด้วยใจอย่างแท้จริง เนื่องจากเป็นปรัชญาการบริการที่เกิดจากค่านิยมทางวัฒนธรรม ที่ได้รับการปลูกฝังและหล่อหลอมอยู่ในจิตวิญญาณของคนญี่ปุ่นจนกลายเป็นสัญญาตญาณ และอุปนิสัยของคนญี่ปุ่นไปแล้ว